รู้จักองค์กร
 
ข้อมูลหน่วย
 
ภารกิจหลัก
 
โครงสร้างผังองค์กร
 
บุคลากร
 
Contact
งานพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ศูนย์คอมพิวเตอร์..มุ่งมั่นสู่ Digital Hospital
 
ภาพ..การทดสอบการใช้ระบบงานครั้งที่ ๑,๒ ปี๒๕๕๐
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล กับศูนย์คอมพิวเตอร์
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
แผนพัฒนาระบบสารสนเทศ...ในอนาคต
 
การวางแผนกลยุทธ์และนำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.ปี 2551-2555
 
ความก้าวหน้าโครงการพัฒนาระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพ สำหรับคลินิกชุมชน
 
พัฒนา website โรงพยาบาล
 
การพัฒนาระบบ PACS
 
e-Referral
อบรมระบบบริหารงานโรงพยาบาล (BHIS)
ชมภาพต้อนรับคณะดูงาน
โปรแกรมสนับสนุน..งานเว็บไซต์
 
Adobe Reader V. 2019.008.20071 size: 209 MB
 
Adobe Flash Player V.31.0.0.122 size: 74 MB
 
Adobe Shockwave Player V. 12.3.4.204 size: 4.97 MB
 
Java Version 8 Update 191
 
Foxit Reader โปรแกรมอ่านไฟล์ PDF
 
CutePDF Writer S V. 2.8.2.1
 
คู่มือติดตั้งและใช้โปรแกรม CutePDF
โปรแกรมประจำเครื่อง
 
CCleaner Latest v.5.40.6411 size 6.56 Mb
 
Defraggler Latest v.2.21.993 size 4.32Mb
 
ตัวเสริม office2003 อ่านไฟล์ office2007
 
2007 Microsoft Office Add-in: Microsoft Save as PDF or XPS
 
Download Stinger-ePO for 32bit systems
 
Download Stinger-ePO for 64bit systems
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560
ขั้นตอนการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีมูลค่าไม่เกิน 5 ล้านบาท และเกิน 5 ล้านบาท สำหรับ สสจ . รพศ ./ รพท . และ รพช
เกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐานครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

 
htmlCode

 เข้าถึงข้อมูลการรักษาได้ง่ายขึ้นด้วย...
แอปพลิเคชัน
“BAH Connect“
ดาวน์โหลด
แอปพลิเคชัน
BAH Connect ทาง  • IOS
BAH Connect ทาง Android

สถิติการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน CLICK  

ขอเชิญทุกท่านแสดงความคิดเห็น
ต่อการเข้ารับบริการ
รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.

..คลิก..
พบเห็นสัตว์อันตรายโทร 27191 จาก รปภ.และนิรภัยภาคพื้น รพ.ภูมิพลอดุยเดช พอ.

3 โปรแกรม JASMINE, ROSE, ORCHID
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
ห้องตรวจสุขภาพ

โทร 0-2534-7624, 2-7624

ติดต่อสอบถามได้ที่ประชาสัมพันธ์ 0-2534-7000, 0-2534-7312
วันหยุด ให้บริการคลินิกพิเศษ
นอกเวลาราชการ ประจำปี 2567
ดาวน์โหลด---> แอปพลิเคชั่น BAH Connect
บริการส่งยาทางไปรษณีย์
---> ขั้นตอน คลิก
html code 
viewbranch
หน่วยงานสนับสนุนและบริการ  ศูนย์คอมพิวเตอร์    งานพัฒนาระบบสารสนเทศ   ศูนย์คอมพิวเตอร์..มุ่งมั่นสู่ Digital Hospital  
  ศูนย์คอมพิวเตอร์..มุ่งมั่นสู่ Digital Hospital   
เนื้อหา   
 
 

        ลังจากพ.ศ. ๒๕๓๔   ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ฯ  ได้ติดตั้งใช้งานระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลโดยเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ CONCURRENT รุ่น MICRO 5 ES และเครื่องลูกข่าย จำนวน ๑๒๐ ชุด แล้วนั้น แต่เนื่องจากการพัฒนาทางด้านสารสนเทศเป็นไปอย่างรวดเร็วทำให้มีการผลิตระบบคอมพิวเตอร์ที่มีขีดความสามารถสูงขึ้น และสามารถใช้โปรแกรมการทำงานที่สะดวกและรวดเร็วต่อผู้ใช้มากขึ้น อีกทั้งผู้ใช้งานบางส่วนก็เริ่มมีความตื่นตัวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มขึ้น ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ดูเสมือนหนึ่งว่าจะล้าสมัยลง  และไม่สามารถตอบสนองต่อการทำงานได้อย่างครบถ้วนครอบคลุมภารกิจงานที่เพิ่มขึ้น ซึ่งศูนย์คอมพิวเตอร์ได้ตระหนักถึงความจำเป็นในข้อนี้ จึงได้มีการจัดทำโครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ใหม่ทดแทนระบบเดิมทั้งระบบ โดยได้เสนอโครงการผ่านคณะกรรมการสารสนเทศของโรงพยาบาลตั้งแต่ปี ๒๕๓๙ และผ่านคณะกรรมการพิจารณาตามลำดับชั้น แต่เนื่องจากติดปัญหาในเรื่องการจัดหา  ทำให้ไม่สามารถจัดหาระบบตามโครงการดังกล่าวได้  ในระหว่างนี้ศูนย์คอมพิวเตอร์ ฯ จึงได้พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม เพื่อรองรับภารกิจที่เพิ่มขึ้นโดยมีการพัฒนาระบบต่าง ๆ ดังนี้


         .ศ.๒๕๓๙ -  ๒๕๔๗  เนื่องจากในแต่ละวันมีปริมาณผู้ป่วยนอกมารับบริการเป็นจำนวนมาก และระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานในขณะนั้นไม่มีระบบงานในส่วนของงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก และการจัดเก็บเงิน จึงทำให้ผู้มารับบริการไม่ได้รับความสะดวกรวดเร็วเท่าที่ควร ศูนย์คอมพิวเตอร์ฯ จึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาระบบห้องจ่ายยาผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้น    โดยจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย IBM รุ่น RISC 6000   และติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายในห้องตรวจแพทย์บางห้อง และจัดจ้างบริษัทโปรเฟสชั่นแนลคอมพิวเตอร์ จำกัด พัฒนาโปรแกรมระบบห้องจ่ายยาผู้ป่วยนอกโดยใช้วงเงินในการดำเนินการทั้งสิ้นประมาณ ๑๕ ล้านบาท ซึ่งเป็นการเริ่มให้แพทย์สั่งยาผ่านระบบคอมพิวเตอร์และพิมพ์ใบสั่งยาจากห้องตรวจ และส่งข้อมูลค่าใช้จ่ายไปยังจุดเก็บเงิน  และใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการบันทึกค่าตรวจอื่นๆ เมื่อผู้ป่วยไปชำระเงินที่ห้องเก็บเงินก็สามารถเรียกข้อมูลจำนวนเงินที่ต้องชำระได้ และพิมพ์ใบเสร็จรับเงินให้ผู้ป่วยแทนการเขียน ซึ่งทำให้สามารถลดเวลาในการรอคอยของผู้ป่วยเพื่อรอรับยาและชำระเงินลงได้

 

          .ศ.๒๕๔๗ - ๒๕๔๙    โรงพยาบาลได้รับมอบหมายให้ร่วมโครงการหลักประกันสุขภาพโดยจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบเพื่อรองรับการส่งข้อมูลเพื่อเบิกจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลสำหรับผู้ป่วยประกันสังคม และผู้ป่วยโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งระบบที่ใช้งานในขณะนั้นไม่รองรับการประมวลผลและรับส่งข้อมูลในรูปแบบอิเลคทรอนิกส์ไฟล์ ตามที่สำนักงานประกันสุขภาพกำหนด  ศูนย์คอมพิวเตอร์ฯ จึงได้จัดจ้างบริษัท Medical 2020 จำกัด เป็นผู้พัฒนาระบบการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาล (E-Clam)  โดยการจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายติดตั้งเพิ่มเติมให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บเงิน โดยเริ่มจากการรวบรวมข้อมูลค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วยใน   ตามกลุ่มสิทธิต่าง ๆ เพื่อส่งเบิกยังหน่วยงานต้นสังกัดของผู้ป่วยซึ่งนับว่าสามารถส่งข้อมูลและเรียกเก็บเงินได้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด  และเนื่องจากโครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ทดแทนระบบเดิมที่เสนอยังไม่สามารถจัดหามาทดแทนได้  รวมทั้งระบบสารสนเทศหลักที่ทำงานบนเครื่อง CONCURRENT ที่ใช้งานตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๔  เริ่มหมดอายุการใช้งานไม่สามารถซ่อมแซมได้จึงได้มีการขยายระบบการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาล (E-Clam)  โดยได้มีการจัดหาและติดตั้งระบบเครือข่าย  รวมทั้งพัฒนาระบบงานต่างๆ และติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายเพิ่มขึ้น   และได้ยกเลิกการใช้งานระบบต่าง ๆ บนเครื่อง CONCURRENT และระบบการสั่งยาจากห้องตรวจแพทย์บนเครื่อง IBM RISC 6000  และใช้งานระบบ (E-Clam)  เป็นระบบสารสนเทศหลักของโรงพยาบาลแทน


         .ศ. ๒๕๔๙ – ปัจจุบัน   โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ทดแทนระบบเดิมได้รับอนุมัติและดำเนินการจัดหาเรียบร้อยในวงเงินประมาณ ๗๕ ล้านบาท โดยบริษัท Abstract computer จำกัด เป็นผู้รับจ้างพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ทดแทนซึ่งเป็นการติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ใหม่ทดแทนระบบเดิมทั้งหมดประกอบด้วย

  ì เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย   

  ì เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย  ๔๓๐ ชุด

  ì ระบบเครือข่ายและอุปกรณ์ประกอบ

  ì โปรแกรมระบบงานโรงพยาบาล ๑๒ ระบบ


          หลังจากเซ็นต์สัญญาจัดหาระบบคอมพิวเตอร์กับ บริษัท Abstract computer จำกัดเรียบร้อย  คณะกรรมการสารสนเทศโรงพยาบาล ได้ร่วมกับหน่วยผู้ใช้  และบริษัทผู้รับจ้าง  ทำการ ศึกษา วิเคราะห์ระบบงานร่วมกัน ทำให้ระบบที่พัฒนาขึ้นมีความสะดวก ตรงตามวัตถุประสงค์ ของผู้ใช้  และได้เริ่มติดตั้งใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ทดแทนระบบเดิมในวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๐  ซึ่งระบบดังกล่าวสามารถรองรับภารกิจของโรงพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

 

 
 
จำนวนทั้งหมด  1 ย่อหน้า หน้า   [ 1 ]