ข้อมูลหน่วยงาน
 
ประวัติกองจักษุกรรม
 
พันธกิจ/วิสัยทัศน์
 
ผู้บริหาร
 
คณาจารย์
 
รายนามบุคลากร
 
ติดต่อเรา
การศึกษาและฝึกอบรม
 
นิสิตแพทย์
 
แพทย์ประจำบ้าน
 
E-learning
วิจัยและวิชาการ
 
ข่าววิจัยและวิชาการ
 
ผลงานวิจัยและวิชาการ
งานพัฒนาคุณภาพ
 
คณะทำงาน
 
ผลงาน
บริการประชาชน
 
ขั้นตอนการเข้ารับการตรวจรักษา
 
คลินิกตรวจโรคผู้ป่วยนอกในเวลา
 
คลินิกตรวจโรคผู้ป่วยนอก คลินิกพิเศษนอกเวลา
 
หอผู้ป่วยจักษุวิทยา
 
ห้องผ่าตัดจักษุวิทยา
 
ตารางแพทยออกตรวจคลินิกพิเศษนอกเวลา
เอกสารเผยแพร่ความรู้/แผ่นพับ
 
computer vision syndrome หรือโรคซีวีเอส
 
เว็บไซต์ที่น่าสนใจ
 
แพทยสภา
 
ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย
 
แหล่งข้อมูลที่น่าสนใจ
 
คลังตำราจักษุวิทยา
htmlCode

 เข้าถึงข้อมูลการรักษาได้ง่ายขึ้นด้วย...
แอปพลิเคชัน
“BAH Connect“
ดาวน์โหลด
แอปพลิเคชัน
BAH Connect ทาง  • IOS
BAH Connect ทาง Android

สถิติการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน CLICK

ขอเชิญทุกท่านแสดงความคิดเห็น
ต่อการเข้ารับบริการ
รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.

..คลิก..
พบเห็นสัตว์อันตรายโทร 27191 จาก รปภ.และนิรภัยภาคพื้น รพ.ภูมิพลอดุยเดช พอ.

3 โปรแกรม JASMINE, ROSE, ORCHID
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
ห้องตรวจสุขภาพ

โทร 0-2534-7624, 2-7624

ติดต่อสอบถามได้ที่ประชาสัมพันธ์ 0-2534-7000, 0-2534-7312
วันหยุด ให้บริการคลินิกพิเศษ
นอกเวลาราชการ ประจำปี 2567
ดาวน์โหลด---> แอปพลิเคชั่น BAH Connect
บริการส่งยาทางไปรษณีย์
---> ขั้นตอน คลิก
html code 
หน่วยงานรักษาพยาบาล  กองจักษุกรรม    การศึกษาและฝึกอบรม  นิสิตแพทย์  
 

จัดการเรียนการสอนให้แก่นิสิตแพทย์ ชั้นปีที่ 5 ปีการศึกษาละ 30 คน โดยมีวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา โดยมีวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ดังนี้

ก. ความรู้และทักษะทางปัญญาขั้นสูง

๑. อธิบายสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง พยาธิกำเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพของโรคหรือภาวะทางจักษุที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ
๒. ประมวลข้อมูลอาการ อาการแสดง และ/หรือผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรค หรือภาวะทางจักษุ
๓. อธิบายข้อบ่งชี้ การเตรียมผู้ป่วย การจัดเก็บสิ่งส่งตรวจและการแปลผลการตรวจเพื่อการวินิจฉัย และการติดตามผลการรักษาโรคหรือภาวะทางจักษุ
๔. อธิบายหลักการรักษาโรคหรือภาวะทางจักษุ ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ
๕. อธิบายหลักการ ข้อบ่งชี้ ขั้นตอน การเตรียมผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการทำ หัตถการทางจักษุ

ข. สมรรถนะทางคลินิก

๑. แสดงการทำหัตถการทางจักษุวิทยา ในสถานการณ์จำลอง และหรือแสดงการทำหัตถการในผู้ป่วย
๒. ให้สุขศึกษาและคำปรึกษาแก่ผู้ป่วยจักษุ และญาติ

ค. พฤติกรรมและผลงาน

๑. วินิจฉัย สั่งการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยจักษุอย่างเป็นองค์รวม
๒. ประยุกต์หลักเวชจริยศาสตร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการบริบาลผู้ป่วย
๓. บันทึกเวชระเบียนแบบมุ่งเน้นปัญหา
๔. ปฏิบัติงานทางคลินิกและบันทึกผลการปฏิบัติงานด้วยพฤตินิสัยและเจตคติแห่งวิชาชีพ
๕. เรียนรู้และปฏิบัติงานทางคลินิกร่วมกับเพื่อนร่วมชั้น และบุคลากรอื่น

๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

     เพื่อปรับปรุงรายวิชาให้ตอบสนองผลการเรียนรู้ของหลักสูตร และปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับเกณฑ์ความรู้ ความสามารถในการประเมินเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.๒๕๕๕

                

     นอกจากนี้ยังเปิดให้ นิสิต/นักศึกษาแพทย์, แพทย์, แพทย์ประจำบ้านสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว และ เวชศาสตร์ฉุกเฉิน นักศึกษาทัศนมาตร มาดูงานเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ในการให้การรักษาผู้ป่วยทางจักษุวิทยา

 

จำนวนทั้งหมด  1 ย่อหน้า หน้า   [ 1 ]