ข้อมูลหน่วยงาน
 
ประวัติ พันธกิจ วิสัยทัศน์
 
ผู้บริหาร
 
รายนามบุคลากร
 
ติดต่อ
การศึกษาและฝึกอบรม
 
นิสิตแพทย์
 
แพทย์ประจำบ้าน
 
แพทย์ประจำบ้านต่อยอด
 
E-learning
วิจัยและวิชาการ
 
ข่าววิจัย และงานประชุมวิชาการ
 
ผลงานวิจัยและวิชาการ
พัฒนาคุณภาพ
บริการประชาชน
 
คำแนะนำก่อนเข้ารับการตรวจรักษา
 
ตารางแพทย์ตรวจรักษาในเวลา
 
ตารางแพทย์ตรวจรักษาคลินิกพิเศษนอกเวลา
 
ห้องตรวจพิเศษสูตินรีเวชกรรม
 
การเข้ารับบริการฝากครรภ์และอัตราค่าบริการฝากครรภ์ โดยประมาณ
 
ค่าบริการห้องสูติกรรม
ความรู้สู่ประชาชน
เว็บไซต์|แหล่งข้อมูลที่น่าสนใจ
 
ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
 
สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย
htmlCode

 เข้าถึงข้อมูลการรักษาได้ง่ายขึ้นด้วย...
แอปพลิเคชัน
“BAH Connect“
ดาวน์โหลด
แอปพลิเคชัน
BAH Connect ทาง  • IOS
BAH Connect ทาง Android

สถิติการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน CLICK  

ขอเชิญทุกท่านแสดงความคิดเห็น
ต่อการเข้ารับบริการ
รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.

..คลิก..
พบเห็นสัตว์อันตรายโทร 27191 จาก รปภ.และนิรภัยภาคพื้น รพ.ภูมิพลอดุยเดช พอ.

3 โปรแกรม JASMINE, ROSE, ORCHID
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
ห้องตรวจสุขภาพ

โทร 0-2534-7624, 2-7624

ติดต่อสอบถามได้ที่ประชาสัมพันธ์ 0-2534-7000, 0-2534-7312
วันหยุด ให้บริการคลินิกพิเศษ
นอกเวลาราชการ ประจำปี 2567
ดาวน์โหลด---> แอปพลิเคชั่น BAH Connect
บริการส่งยาทางไปรษณีย์
---> ขั้นตอน คลิก
html code 
หน่วยงานรักษาพยาบาล  กองสูตินรีกรรม    วิจัยและวิชาการ  ข่าววิจัย และงานประชุมวิชาการ  
 

1. การศึกษาวิจัยเฟสที่ 2 ของการให้ยาเคมีบำบัดของยาดอคซิแทคเซลร่วมกับยาคาร์โบพลาตินแบบทุกสัปดาห์ เป็นยาเคมีบำบัดขั้นแรกในโรคมะเร็งรังไข่ชนิด epithelialPhase II study of weekly docetaxel and carboplatin as the first-line chemotherapy in women with epithelial ovarian carcinoma
รูปแบบการศึกษาวิจัย Phase II, multi-center, open-label, single arm, prospective study
สถาบันที่เข้าร่วม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช, โรงพยาบาลศิริราช และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
ระยะเวลาศึกษาวิจัย กรกฎาคม 2549-ธันวาคม 2552
หัวหน้าโครงการ พล.อ.ต.วีระ สุรเศรณีวงศ์

2. การเปรียบเทียบการให้ยาเนวิราพินแก่มารดาและทารกระหว่างคลอดกับการให้ยาเนวิราพินแก่ทารกเท่านั้น หรือกับการให้ยาโลพินาเวียร์/ริโทนาเวียแก่มารดาร่วมกับการให้ยาไซโดวูดินตามมาตรฐาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอ วี จากมารดาสู่ทารกในประเทศไทยMaternal and infant peripartum nevirapine, versus infant only peripartum nevirapine, or maternal lopinavir/ritonavir in addition to standard zidovudine prophylaxis for the prevention of perinatal HIV in Thailand(PHPT-5)
ผู้สนับสนุน NICHD, NIH, USA
รูปแบบการศึกษาวิจัย Multicenter, placebo-controlled, double blind, clinical trial
ผู้วิจัยหลัก ศ.นพ.สุพร เกิดสว่าง, พญ.ศิริพร กัญชนะ, นพ.มาร์ค ลาเลอมองต์, นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์, พญ.นิพรรณพร วรมงคล, นพ.วิรัช กลิ่นบัวแย้มผู้ร่วมวิจัยที่โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช คือ น.อ.สินาท พรหมมาศ, น.อ.หญิงประไพศรี ลยางกูร3. การควบคุมโรคธาลัสญีเมียที่รุนแรงในประเทศไทยด้วยการวินิจฉัยก่อนคลอดPrenatal Control of Severe Thalassemia
รูปแบบการศึกษาวิจัย Multicenter, Prospective Descriptive Studies
สถาบันที่เข้าร่วม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ มหาวิมยาลัยเชียงใหม่,โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสงขลา, โรงพยาบาลราชวิถี, โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า, โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ
ระยะเวลาศึกษาวิจัย สิงหาคม 2551 - กันยายน 2553
แพทย์ผู้ดำเนินการวิจัยที่โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช น.อ.วิบูลย์ เรืองชัยนิคม,น.อ.หญิงนวภรณ์ ออรุ่งโรจน์, น.ท.จิรวัฒน์ ชูวงศ์, น.อ.สราวุธ สารภักดิ์

จำนวนทั้งหมด  1 ย่อหน้า หน้า   [ 1 ]