รู้จักองค์กร
 
ข้อมูลหน่วย
 
ภารกิจหลัก
 
โครงสร้างผังองค์กร
 
บุคลากร
 
Contact
งานพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ศูนย์คอมพิวเตอร์..มุ่งมั่นสู่ Digital Hospital
 
ภาพ..การทดสอบการใช้ระบบงานครั้งที่ ๑,๒ ปี๒๕๕๐
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล กับศูนย์คอมพิวเตอร์
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
แผนพัฒนาระบบสารสนเทศ...ในอนาคต
 
การวางแผนกลยุทธ์และนำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.ปี 2551-2555
 
ความก้าวหน้าโครงการพัฒนาระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพ สำหรับคลินิกชุมชน
 
พัฒนา website โรงพยาบาล
 
การพัฒนาระบบ PACS
 
e-Referral
อบรมระบบบริหารงานโรงพยาบาล (BHIS)
ชมภาพต้อนรับคณะดูงาน
โปรแกรมสนับสนุน..งานเว็บไซต์
 
Adobe Reader V. 2019.008.20071 size: 209 MB
 
Adobe Flash Player V.31.0.0.122 size: 74 MB
 
Adobe Shockwave Player V. 12.3.4.204 size: 4.97 MB
 
Java Version 8 Update 191
 
Foxit Reader โปรแกรมอ่านไฟล์ PDF
 
CutePDF Writer S V. 2.8.2.1
 
คู่มือติดตั้งและใช้โปรแกรม CutePDF
โปรแกรมประจำเครื่อง
 
CCleaner Latest v.5.40.6411 size 6.56 Mb
 
Defraggler Latest v.2.21.993 size 4.32Mb
 
ตัวเสริม office2003 อ่านไฟล์ office2007
 
2007 Microsoft Office Add-in: Microsoft Save as PDF or XPS
 
Download Stinger-ePO for 32bit systems
 
Download Stinger-ePO for 64bit systems
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560
ขั้นตอนการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีมูลค่าไม่เกิน 5 ล้านบาท และเกิน 5 ล้านบาท สำหรับ สสจ . รพศ ./ รพท . และ รพช
เกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐานครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

 
htmlCode

 เข้าถึงข้อมูลการรักษาได้ง่ายขึ้นด้วย...
แอปพลิเคชัน
“BAH Connect“
ดาวน์โหลด
แอปพลิเคชัน
BAH Connect ทาง  • IOS
BAH Connect ทาง Android

สถิติการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน CLICK

ขอเชิญทุกท่านแสดงความคิดเห็น
ต่อการเข้ารับบริการ
รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.

..คลิก..
พบเห็นสัตว์อันตรายโทร 27191 จาก รปภ.และนิรภัยภาคพื้น รพ.ภูมิพลอดุยเดช พอ.

3 โปรแกรม JASMINE, ROSE, ORCHID
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
ห้องตรวจสุขภาพ

โทร 0-2534-7624, 2-7624

ติดต่อสอบถามได้ที่ประชาสัมพันธ์ 0-2534-7000, 0-2534-7312
วันหยุด ให้บริการคลินิกพิเศษ
นอกเวลาราชการ ประจำปี 2567
ดาวน์โหลด---> แอปพลิเคชั่น BAH Connect
บริการส่งยาทางไปรษณีย์
---> ขั้นตอน คลิก
html code 
viewbranch
หน่วยงานสนับสนุนและบริการ  ศูนย์คอมพิวเตอร์    โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ  การพัฒนาระบบ PACS  
  การพัฒนาระบบ PACS   
เนื้อหา   
 

PACS คือ อะไร
PACS ย่อมาจากคำว่า Picture Archiving and Communication System คือ ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บรูปภาพ ทางการแพทย์( Medical Images) และรับ-ส่งข้อมูลภาพ ในรูปแบบ Digital PACS ใช้การจัดการรับส่งข้อมูล ผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยการส่งภาพข้อมูลตามมาตราฐาน DICOM

 

 
ทำไมถึงต้องใช้ PACS
          
          ในปัจจุบันเราจะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในทางการแพทย์เป็นอย่างมาก ระบบ PACS ก็เป็นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการแพทย์อย่างหนึ่ง ที่พัฒนามาเพื่อใช้กับแผนกรังสีโดยตรง เนื่องจากภาพถ่ายทางรังสีมีความจำเป็นในการช่วยวิเคราะห์โรค และรักษาผู้ป่วย ระบบ PACS จะช่วยให้แพทย์ ได้รับภาพถ่ายทางรังสี และผลวิเคราะห์จากรังสีแพทย์อย่างรวดเร็ว ทำให้แพทย์วินิจฉัยโรค และให้การรักษา ผู้ป่วยได้เร็วยิ่งขึ้นโดยเฉพาะผู้ป่วยหนัก นอกจากนี้ ปัญหาการจัดเก็บ และค้นหาฟิล็มเอ็กซเรย์ ก็ทำให้เกิดความล้าช้า ของการรายงานผลเอ็กซเรย์ได้ บางครั้งเราอาจจะพบว่ามีการสูญหายของฟิล็มเอ็กซเรย์ ซึ่งมีความจำเป็น ในการใช้เปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลงของโรค และการให้การรักษาต่อเนื่อง ระบบ PACS มีการจัดเก็บข้อมูล ไว้ในคอมพิวเตอร์ซึ่งมีระบบเก็บข้อมูลสำรอง จึงช่วยแก้ปัญหานี้ได้
 
เราจะได้อะไรจาก PACS
ข้อดีของระบบ PACS มีหลายอย่างดังนี้

1. ผลดีต่อกระบวนการรักษาพยาบาล

- ลดเวลาในการตรวจ และรอคอยผลการเอ็กซเรย์ เนื่องจากการล้างฟิล์ม และการค้นหาฟิล์มเก่า
- ได้รับการวินิจฉัยโรค และได้รับการรักษาพยาบาลเร็วขึ้น
- เนื่องจากสามารถเรียกข้อมูลเก่าที่เก็บไว้ในระบบได้ตลอด เวลาทำให้แพทย์ สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง ของโรคได้ตลอดเวลาซึ่งจะช่วยให้การวินิจฉัยแม่นยำ ยิ่งขึ้น และช่วยในการวางแผนการรักษาอย่างต่อเนื่อง
- ลดปริมาณรังสีที่ผู้ป่วย และบุคลากรทางการแพทย์ จะได้รับเนื่องจากการถ่ายฟิล์มซ้ำ ที่เกิดจากการตั้งค่าเทคนิค ไม่เหมาะสมกับผู้ป่วย

ระบบ
PACS จัดเก็บภาพเอ็กซเรย์อย่างไร
             สำหรับระบบ PACS ในแผนกเอกซเรย์ สามารถทกการรับสัญญาฯ โดยทำการเชื่อมภาพที่เกิดจากเครื่องมือต่างๆ โดยผ่านมาตราฐานภาพ DICOM ดังนี้
1.Spiral Computed Tomography เป็นเครื่องตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ระบบใหม่
2.Digital Subtraction Imaging เป็นเครื่องตรวจเอ็กซเรย์ร่วมกับสารทึบรังสี เช่น การตรวจกระเพาะอาหาร ฯ
3.Color Doppler Ultrasound เป็นเครื่องตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงระบบใหม่ สามารถตรวจพยาธิสภาพของหลอดเลือดได้
4.Computed Radiograph (CR system) เป็นการถ่ายเอ็กซเรย์ทั่วไป แต่ใช้ Imaging plate แทนฟิล์ม แล้วนำเข้าเครื่องอ่าน ซึ่งจะได้ภาพเป็น digital image ซึ่งสามารถส่งเข้าจอวินิจฉัยภาพของรังสีแพทย์เพื่อแปลผล และส่งให้แพทย์ผู้ส่งตรวจได้พร้อมกัน
ภาพจากเครื่องดังกล่าวทั้งหมดเป็นระบบดิจิตอลวึ่งจะถูกส่งมาเก็บในฐานข้อมูลของระบบ PACS และส่งไปยังจุดต่างๆที่จำเป็นทั่วโรงพยาบาล
ดังนั้นเครื่องๆ ที่เป็น Digital และมีมาตราฐาน DICOM ก็สามารถเชื่อมต่อเข้าระบบ PACS ได้

ถ้าเราต้องการฟิล์มเอ็กซเรย์จะทำอย่างไร

             บางครั้งเราจะพบว่า มีผู้ป่วยต้องการฟิล์มเอ็กซเรย์ ไปใช้ในการรักษาต่อที่อื่นซึ่งต้องใช้ฟิล์ม ในระบบ PACS สามารถที่จะทำการ พิมพ์ภาพถ่ายทางรังสีออกมาได้ โดยใช้เครื่อง Dry Thermal Imager ซึ่งต่อเชื่อมโยงกับระบบ PACS ที่ใช้สำหรับพิมพ์ภาพถ่าย ทางเอ็กซเรย์ลงฟิล์มเอ็กเซย์พิเศษได้ นอกจากนี้ผู้ป่วยยัง สามารถขอรับภาพถ่ายทางรังสีใ นรูปแบบของแผ่น CD แทนแผ่นฟิล์ม เพื่อนำไปทำการรักษา ต่อเนื่องได้โดยไม่ต้องถือฟิล์ม จำนวนมากอีกต่อไป (ในกรณีที่สถานพยาบาล ที่จะใช้ข้อมูลภาพเหล่านี้ มีระบบคอมพิวเตอร์ที่รองรับได้)

PACS ระบบที่ดีที่สุดของเอ็กซเรย์

           มีผู้กล่าวเอาไว้ว่า ภายในอนาคตอันใกล้นี้ แผนกเอ็กซเรย์ในโรงพยาบาลใหญ่ๆ ส่วนใหญ่จะมีการควบคุมด้วยระบบ PACS การโรงพยาบาลต่าง ๆ ได้มีการ นำเอาระบบ PACS เข้าใช้ในแผนกเอ็กซเรย์ ของโรงพยาบาล และในอนาคต คาดว่าจะมีโรงพยาบาล หลายแห่งจะมีการติดตั้งระบบ PACS กันมากขึ้น ซึ่งนั้นก็หมายความว่า ผู้เข้ามาใช้บริการ ของโรงพยาบาล จะได้รับความสะดวก และรวดเร็ว ในการตรวจบริการ ของแผนกเอ็กซเรย์ รวมไปถึงได้รับการวินิจฉัย และการรักษาพยาบาล จากแพทย์โดยเร็ว และ มีประสิทธิภาพ มากขึ้นอีกด้วย รวมทั้งสามารถ ที่จะทำการปรึกษาผลวินิจฉัยภาพได้ระหว่างโรงพยาบาล ที่มีการติดดั้งระบบ PACS ได้เช่นกัน
 

การพัฒนาเข้าสู่ระบบ PACS ...  อ่านต่อ 

 
จำนวนทั้งหมด  1 ย่อหน้า หน้า   [ 1 ]